ด่วนเลย! แชร์วนไป
ด่วนเลย! แชร์วนไป
10 ก.ย. 59
.
.
.
ไวรัสซิกา ติดต่อกันได้อย่างไร?
ไวรัสซิกาติดต่อจากผู้ป่วย สู่ผู้ป่วยด้วย “ยุงลาย” ที่เป็นพาหะ
อาการของเชื้อไวรัสซิกา
1. มีไข้
2. ออกผื่นตามลำตัว แขน ขา
3. ตาแดง
4. ปวดข้อ ข้อบวม ปวดหลัง
5. อาจมีอาการอื่นๆ เช่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ต่อมน้ำเหลืองโต หรืออุจจาระร่วง
ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง อาการทุกอย่างอาจบรรเทาลงภา ยใน 2-7 วัน แต่หาก 1 สัปดาห์แล้วอาการไม่ดีขึ้น หรือเป็นหญิงมีครรภ์ ควรรีบพบแพทย์โดยด่วน
แนวทางในการป้องกันการติดเ ชื้อไวรัสซิกา
1. ระวังอย่าให้ตัวเองโดนยุงกั ด หากจำเป็นต้องไปในที่ยุงชุม เช่น ป่าดิบชื้น ใกล้แหล่งน้ำนิ่ง แหล่งชุมชนแออัด ขอให้ทายากันยุง นอนในมุ้ง หรือพักในห้องที่มีมุ้งลวด
2. กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย รอบที่อยู่อาศัย รวมถึงที่ทำงาน และโรงเรียน ไม่ว่าจะเป็นการเทน้ำในจานร องกระถางต้นไม้ เปลี่ยนน้ำในแจกัน คว่ำกะละมัง อ่างต่างๆ นอกบ้าน ใส่ทรายอะเบทลงในจานรองกระถ างต้นไม้ต่างๆ และฉีดยาป้องกันยุงลายตามสถ านที่ทำงาน และโรงเรียน
3. หญิงตั้งครรภ์ควรฝากครรภ์กั บสถานพยาบาล หรือโรงพยาบาล เพื่อตรวจร่างกายตามเวลาที่ แพทย์กำหนด ป้องกันการเกิดความผิดปกติก ับลูกน้อย
ไวรัสซิกาไม่น่ากลัว หากมีการป้องกันยุงลายที่ดี และมประสิทธิภาพ เพราะฉะนั้นในช่วงหน้าร้อน หน้าฝนแบบนี้ หมั่นดูแลสุขภาพให้ดี และอย่าให้ตัวคุณเอง และคนที่คุณรักโดนยุงกัดนะ
ขอบคุณข้อมูลบางส่วนจาก กรมควบคุมโรคติดต่อ, สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
แก้ไขตำแหน่งผอ.กองควบคุมโร คติดต่อ
10 ก.ย. 59
.
.
.
ไวรัสซิกา ติดต่อกันได้อย่างไร?
ไวรัสซิกาติดต่อจากผู้ป่วย สู่ผู้ป่วยด้วย “ยุงลาย” ที่เป็นพาหะ
อาการของเชื้อไวรัสซิกา
1. มีไข้
2. ออกผื่นตามลำตัว แขน ขา
3. ตาแดง
4. ปวดข้อ ข้อบวม ปวดหลัง
5. อาจมีอาการอื่นๆ เช่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ต่อมน้ำเหลืองโต หรืออุจจาระร่วง
ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรง อาการทุกอย่างอาจบรรเทาลงภา
แนวทางในการป้องกันการติดเ
1. ระวังอย่าให้ตัวเองโดนยุงกั
2. กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
3. หญิงตั้งครรภ์ควรฝากครรภ์กั
ไวรัสซิกาไม่น่ากลัว หากมีการป้องกันยุงลายที่ดี
ขอบคุณข้อมูลบางส่วนจาก กรมควบคุมโรคติดต่อ, สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
แก้ไขตำแหน่งผอ.กองควบคุมโร
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น